ห้องสมุดแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้รับการยอมรับว่าเป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพและใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งไม่เพียงแต่จะทำหน้าที่สนับสนุนงานทางด้านวิชาการของคณาจารย์ พนักงานและนักศึกษาในมหาวิทยาลัย แต่ยังเป็นเสมือนคลังสติปัญญาที่นักวิจัยและนักวิชาการทั่วโลกต่างหลั่งไหลเข้าใช้บริการ
วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านความยั่งยืน
ผลจากการสำรวจของเว็บไซต์ The College Sustainability Report Card ซึ่งได้ทำการสำรวจมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดาจำนวน 332 สถาบันในมิติด้านความยั่งยืนและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ทำการสำรวจติดต่อกันมาเป็นประจำทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 สำหรับในปี ค.ศ.2009 ฮาร์วาร์ดได้รับการประเมินให้มีคะแนนรวมอยู่ในระดับ A- ซึ่งจากจำนวนสถาบันที่ทำการสำรวจทั้งหมด มีเพียง 26 สถาบันเท่านั้นที่ได้รับคะแนนรวมในระดับดังกล่าวนี้
พัฒนาจิตสาธารณะด้วยงานบริการสังคมแบบฮาร์วาร์ด
ฮาร์วาร์ดให้ความสำคัญกับการส่งเสริมและพัฒนาจิตสาธารณะของนักศึกษา คณาจารย์ และพนักงานในมหาวิทยาลัยผ่านช่องทางต่าง ๆ มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน โดยได้พยายามสอดแทรกและเชื่อมโยงเรื่องการบริการสังคมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน การทำวิจัย การพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาในระดับนโยบาย ตลอดจนการจัดให้มีบริการชุมชนและสังคมโดยตรง และการจัดกิจกรรมพิเศษประจำปีอื่น ๆ
ฮาร์วาร์ด เร่งคลอด ป. เอก สร้างผู้นำทางการศึกษา
ฮาร์วาร์ดเป็นมหาวิทยาลัยที่มีส่วนบ่มเพาะในการสร้างผู้นำและบุคคลสำคัญของโลก มาเป็นระยะเวลายาวนานหลายร้อยปี ซึ่งความสำเร็จดังกล่าวเป็นผลมาจากวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร ซึ่งต้องการพัฒนาให้ฮาร์วาร์ดเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการสร้างผู้นำ และมีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโลกด้านต่าง ๆ ได้อย่างแท้จริง
ฮาร์วารดนัดพบผู้ปกครองของนักศึกษาชั้นปีแรก
การจัดกิจกรรมวันหยุดสุดสัปดาห์สำหรับผู้ปกครองของนักศึกษาปี 1 (Freshman Parents weekend) เป็นประเพณีที่ฮาร์วาร์ดได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลัก เพื่อทำให้เกิดการเชื่อมโยงประสบการณ์ร่วมกันระหว่างผู้ปกครองกับนักศึกษา ซึ่งจะช่วยทำให้ผู้ปกครองของนักศึกษาเหล่านี้ ได้เข้าใจในสภาพบริบทการเรียนการสอนและได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตการเป็นนักศึกษาฮาร์วาร์ดมากขึ้น โดยฮาร์วาร์ดคาดหวังเป็นอย่างมากว่ากิจกรรมที่จัดขึ้นนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับตัวและการพูดคุยกันระหว่างมหาวิทยาลัยและผู้ปกครองกับนักศึกษา
ฮาร์วาร์ดกวดวิชานักเรียนมัธยมศึกษา
โครงการกวดวิชาภาคฤดูร้อน ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างเมืองเคมบริดจ์และมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Cambridge Harvard Summer Academy : CHSA) เปิดดำเนินการมากกว่า 9 ปีแล้ว โดยให้นักเรียนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมกวดวิชาเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ไม่ว่าจะเป็น วิชาคณิตศาสตร์ วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ชีววิทยา ฟิสิกส์ หรือ เคมี ซึ่งในทุก ๆ ปีจะมีนักเรียนจากโรงเรียนต่าง ๆ ทั่วเมืองเคมบริดจ์เข้าร่วมเป็นจำนวนมาก ปีนี้ก็เช่นเดียวกันมีนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการดังกล่าวนี้มากถึง 300 คน
วันจันทร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ฮาร์วาร์ดผู้นำหลักสูตรการศึกษากลุ่มวัยเกษียณอายุ
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ฮาร์วาร์ดตระหนักถึงและความสำคัญต่อการจัดการศึกษาสำหรับทุกกลุ่มคนรวมถึงผู้สูงอายุ โดยเป็นผู้นำจัดหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตมายาวนานกว่า 32 ปี ซึ่งความพยายามดังกล่าวนี้เริ่มต้น จากวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร ที่ต้องการให้ฮาร์วาร์ดเป็นมหาวิทยาลัยที่สามารถตอบสนองความต้องการของทุกกลุ่มคนได้อย่างแท้จริง โดยเฉพาะกลุ่มคนวัยเกษียณอายุ ซึ่งเป็นผู้มีคุณค่าและเป็นคลังสติปัญญาของสังคม
ฮาร์วาร์ดร่วมกับชุมชนพร้อมรับภัยพิบัติทางธรรมชาติ
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
กระแสการเปลี่ยนแปลงและสภาวะวิกฤตต่าง ๆ โดยโลกต้องเผชิญกับความท้าทายและปัญหาใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมาผู้บริหารระดับสูงของฮาร์วาร์ด ได้ตระหนักถึงความสำคัญ โดยออกมาแสดงวิสัยทัศน์และจุดยืนที่ชัดเจนในการท้าทาย ให้ประชาคมฮาร์วาร์ดปรับตัวและเตรียมพร้อมรับมือในการเผชิญกับภาวะวิกฤตต่าง ๆ ด้วยการนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากมหาวิทยาลัย ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม และสนับสนุนให้ประชาคมฮาร์วาร์ด เข้ามีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมส่วนรวม โดยผลักดันให้ฮาร์วาร์ดเป็นผู้นำที่ยืนอยู่บนยอดคลื่นแห่งการเปลี่ยนแปลงและพร้อมรับอนาคตได้อย่างเท่าทัน
ฮาร์วาร์ด ต้นแบบ "มหาวิทยาลัยที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลง"
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ท่ามกลางสภาพวิกฤตทางเศรษฐกิจ วิกฤตด้านสิ่งแวดล้อม การต่อสู้กับการแพร่ระบาดของเชื้อโรค การปฏิรูปการศึกษา การเผชิญกับข้อบังคับทางการเงินใหม่ ๆ ในอนาคต ความขัดแย้งระหว่างประเทศ รวมถึงวิกฤตด้านคุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ ที่กำลังเกิดขึ้นและส่งผลกระทบไปทั่วโลกอยู่ในขณะนี้
ฮาร์วาร์ด ต้นแบบ "มหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก"
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยชั้นนำ อันดับ 1 ของโลก ติดกัน 4 ปีซ้อน มีการพัฒนาการจัดการศึกษาและการวิจัยที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก โดยการจัดเรียนการสอนและทำวิจัยของฮาร์วาร์ด ได้ก้าวข้ามพรมแดนทางด้านภูมิศาสตร์ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีสมาชิกของชุมชนฮาร์วาร์ด ขยายตัวไปสู่พื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นผลสืบเนื่องมาจากการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอน การทำวิจัย การจัดกิจกรรมนอกหลักสูตร โครงการท่องเที่ยว โครงการแลกเปลี่ยน การจัดตั้งสมาคมศิษย์เก่าและสำนักงานต่าง ๆ ซึ่งในขณะเดียวกัน มีการเพิ่มจำนวนขึ้นของนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนในฮาร์วาร์ดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งฮาร์วาร์ดมีลักษณะความเป็นมหาวิทยาลัยในระดับสากลชัดเจน ผ่านรูปแบบการดำเนินงานหรือการจัดกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ที่ขยายไปทั่วโลก อาทิ
ฮาร์วาร์ดสแควร์
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
บทความนี้ เป็นการนำเสนอสถานที่หนึ่งที่ตั้งอยู่ตรงข้ามกับลานฮาร์วาร์ด (Harvard yard) มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งอาจจะเป็นข้อมูลหรือเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการจะเดินทางไปศึกษาต่อหรือปฏิบัติภารกิจที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด นั่นคือ ฮาร์วาร์ดสแควร์ (Harvard Square) ซึ่งเป็นสถานที่เก่าแก่ที่มีคุณค่าทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ การศึกษา และสังคม
ฮาร์วาร์ด ต้นแบบ "งานวิจัยเชิงพาณิชย์"
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ฮาร์วาร์ดเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านวิจัย มีการผลิตและพัฒนานวัตกรรมงานวิจัยจำนวนมาก ที่มีคุณภาพเป็นอันดับต้นของโลก สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ และสร้างรายได้มหาศาลสู่ฮาร์วาร์ด ทั้งนี้เพราะฮาร์วาร์ดมีบรรยากาศสร้างผลงานวิจัย ซึ่งทั้งครูและศิษย์ต่างได้รับแรงกระตุ้นให้แข่งขันความเก่งด้วยงานวิจัย ส่งผลให้มหาวิทยาลัยโดดเด่นทางวิชาการ มีผลงานรับรองคุณภาพจำนวนไม่น้อย เห็นได้จากบุคลากรของมหาวิทยาลัยที่ได้รับรางวัลโนเบล 75 รางวัล รางวัลพูลิตเซอร์ 15 รางวัล
ฮาร์วาร์ด ต้นแบบ "มหาวิทยาลัยสีเขียว"
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ภาวะวิกฤตด้านสิ่งแวดล้อม เป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางจากทุกภาคส่วนทั้งภาคประชาชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ และขยายวงกว้างในขั้นวิกฤตในทุกประเภทของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก เนื่องด้วยเป็นปัญหาใกล้ตัว มีผลกระทบโดยตรงต่ออุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึ้น ลดความหลากหลายทางชีวภาพ การผลิตอาหาร อีกทั้งส่งผลต่อสุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ลดลงของคนในสังคม
วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ปีเตอร์ กาดอล ผู้ประยุกต์งานเขียนจากการเรียนรู้สิ่งรอบตัว
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ปีเตอร์ กาดอล (Peter Gadol) นักเขียนผู้สร้างสรรค์ผลงานจากประสบการณ์รอบตัว และมีแนวทางการนำเสนอที่ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสังคมในขณะนั้น ถูกยกย่องให้เป็นนักเขียนที่เต็มไปด้วยพลัง และมีเอกลักษณ์ของตนเอง ในการสะท้อนค่านิยม และสภาวะของสังคมผ่านงานเขียนของเขา
รักจริง ต้องใช้เงินเป็น
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
คนสองคนรักกัน “ความรัก” นั้นไม่ต้องใช้เงิน แต่หากก่อนแต่งงาน ไม่ได้วางแผนการใช้เงิน นิสัยการใช้เงินของคนรัก อาจเป็นเหตุให้ความรัก ‘ร้าว’ ได้
ไมเคิล แมคโคบี นักวิชาการผู้มุ่งมั่นสร้างความรู้
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ไมเคิล แมคโคบี (Michael Maccoby) นักจิตวิทยาวิเคราะห์ นักมานุษยวิทยา ผู้มีชื่อเสียงระดับโลก ได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาด้านการพัฒนาภาวะผู้นำในองค์กรระดับโลกหลายแห่ง เจ้าของงานเขียน 12 เล่ม ผู้ก่อตั้ง ผู้บริหาร ที่ปรึกษา สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมุนษย์ ใน 26 ประเทศทั่วโลก
เฮนริอาตา ลีวิตต์ รู้ลึกจนชำนาญพัฒนาสู่ความเชี่ยวชาญ
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
เฮนริอาตา ลีวิตต์ (Henrietta Swan Leavitt) นักดาราศาสตร์หญิงชาวอเมริกัน ผู้สร้างคุณูปการต่อวงการดาราศาสตร์ ค้นพบการคำนวณระยะห่างของดวงดาว จากการกระพริบในยุคที่ยังไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์
เอมี กัตแมนน์ บริหารอย่างมีวิสัยทัศน์
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
เอมี กัตแมนน์ Amy Gutmann ผู้บริหารหญิงผู้มากความสามารถ เป็นศิษย์เก่าฮาร์วารด์ที่รับรางวัลเกียติยศจากมหาวิทยาลัยในฐานะ ศิษย์เก่าผู้สร้างชื่อให้แก่สถาบัน โดยการสร้างสรรค์สิ่งดีสู่สังคม เป็นผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ กล้าคิดและกล้าตั้งเป้าหมายใหญ่ เพื่อพัฒนาสถาบันการศึกษาที่ตนบริหาร ให้ก้าวสู่ความเป็นหนึ่งในโลกของการศึกษา
นาดีน สโตรเซน สำเร็จได้เพราะรักการอ่าน
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
นาดีน สโตรเซน (Nadine Strossen) ผู้หญิงคนแรกที่ได้รับเลือกให้เป็นประธานองค์กรอเมริกันซิวิลลิเบอร์ตีส์ยูเนียน (American Civil Liberties Union หรือ ACLU) องค์กรไม่แสวงหาผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีฐานสมาชิกมากกว่าห้าแสนคน ประธาน และเป็นผู้บริหารที่มีอายุน้อยที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์องค์กร ศิษย์เก่าฮาร์วาร์ดคนนี้ยังได้สร้างชื่อเสียงในฐานะ ผู้นำทางธุรกิจ ที่ปรึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นักกฎหมายผู้มีผลงานตีพิมพ์ในนิตยสารชื่อดังหลายฉบับ
การค้าไทยในภาวะฝืดเคือง
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
วิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ที่มีจุดเริ่มต้นในสหรัฐอเมริกา และกำลังลุกลามไปยังยุโรปและทั่วโลกในขณะนี้ ทำให้เศรษฐกิจของสหรัฐฯและยุโรปเริ่มส่งสัญญาณการเข้าสู่ภาวะถดถอยและทำให้เศรษฐกิจเอเชียชะลอตัวลงด้วย และมีแนวโน้มความถดถอยทางเศรษฐกิจที่รุนแรงขึ้นในปี พ.ศ.2552
ไปได้ไกล เท่าที่ใจอยากก้าว
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
บทบาทของผู้หญิงในการมีส่วนร่วมสร้างสรรค์สังคม นับวันจะมีเพิ่มมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ตามสภาพสังคมและกฎหมายที่เอื้อให้ผู้หญิงสามารถแสดงบทบาทและศักยภาพด้านต่าง ๆ ออกมาได้อย่างได้รับการยอมรับมากยิ่งขึ้น
วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ศิลปะกับชีวิตคนเมือง ตอนที่ 1/2
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ความเป็นเมืองใหญ่ หรือ เมืองหลวง ของหลายประเทศทั่วโลก มีสิ่งที่เหมือน ๆ กัน นั่นคือ ความแออัดของประชากร อาคารสิ่งปลูกสร้าง การจราจรที่ติดขัด การดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบแข่งขัน ผู้คนอยู่กับวัตถุมากกว่าธรรมชาติ อันส่งผลให้คนในเมืองจำนวนไม่น้อยขาดแคลนโอกาสในการ “เสพความสุข” ในการใช้ชีวิตประจำวัน เมื่อเทียบกับคนในชนบท
ศิลปะกับชีวิตคนเมือง ตอนที่ 2/2
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ผมมองว่า ประเทศไทยในทุกพื้นที่ทั้งในกรุงเทพฯและจังหวัดต่าง ๆ ล้วนมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ทั้งวัฒนธรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมร่วมสมัย ที่สำคัญ ในประเทศเรามีผู้ที่มีฝีมือทางด้านนี้เป็นจำนวนไม่น้อย อาทิ กรุงเทพฯ มีการสั่งสมของศิลปะความงดงามในอดีตที่สืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยอยุธยา สะท้อนออกเป็นความงามผ่านวัตถุสิ่งของต่าง ๆ ดังนั้น หากมีการส่งเสริมจากภาครัฐอย่างจริงจัง เราสามารถทำให้ศิลปะเหล่านี้ซึมซับในทุก ๆ พื้นที่ของเมือง
คิดดี สุขภาพดี ตอนที่ 1/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
“ทราบมาว่า อาจารย์ทำงานวันละไม่ต่ำกว่า 15 ชั่วโมง ไม่เคยพักผ่อนก่อนตีสอง ทำงานทุกวัน มีเวลาพักผ่อนน้อย มีกระทบต่อสุขภาพหรือไม่ และ อาจารย์มีวิธีดูแลสุขภาพอย่างไรบ้าง?”
คิดดี สุขภาพดี ตอนที่ 2/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
สำหรับผม ผมมีความคิดที่ส่งเสริมทั้งสุขภาพใจและสุขภาพกาย ซึ่งเป็นเรื่องที่อยากแนะนำผู้อ่าน โดยเฉพาะมนุษย์งานที่ใช้เวลาส่วนใหญ่หมดไปกับการปฏิบัติภารกิจให้สำเร็จ อาทิ
คิดดี สุขภาพดี ตอนที่ 3/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
มองโลกในแง่บวก เพิ่มพลังใจ
ผมเป็นคนมองโลกในแง่บวก ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้สุขภาพจิตดี และมีกำลังใจการก้าวเดินไปสู่อนาคต ความคิดแง่บวก อาทิ ไม่ท้อแท้ แม้ผิดหวัง – ฉุดตัวเองขึ้น เดินต่อเสมอ เพราะเชื่อว่า ความสำเร็จรออยู่ข้างหน้า ไม่มีศัตรู สร้างแต่มิตร - ผมไม่เป็นศัตรูกับใคร ยินดีเป็นมิตรกับทุกคน ยินดีให้อภัยผู้อื่นอย่างง่าย ๆ ไม่ต้องเสียเวลาเคียดแค้น ทำให้ไม่เสียสุขภาพจิต มองความเครียดเป็นเสมือน “ขนมหวาน” - ช่วยพัฒนาศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดแก้ปัญหา การเรียนรู้จักพัฒนาความมั่นคงและความอดทนในการดำเนินชีวิตของเราได้มากขึ้น
คิดดี สุขภาพดี ตอนที่ 4/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ผมให้ความสำคัญและสมดุลทั้งในเรื่องของการทำงาน การออกกำลังกาย และงานอดิเรกที่ตนเองชื่นชอบ โดยขณะที่ทำงานนั้น จะหาช่วงเวลาบางช่วงในการออกกำลังกายไปด้วย ห้องทำงานมีอุปกรณ์ในการออกกำลังกาย เช่น จักรยานปั่นหรือเครื่องวิ่งประจำที่ ที่ยกน้ำหนักเล็ก ๆ สามารถทำงานหรือคิดงานไป ขณะที่เดินหรือวิ่งอยู่สายพานของเครื่องวิ่ง ผลลัพธ์ที่ได้คือ ได้ทั้งงานและได้ออกกำลังกายไปพร้อม ๆ กัน ขณะเดียวกันในห้องทำงานจะมีตู้ปลาเพื่อผ่อนคลายความเครียด ความเมื่อยล้า ด้วยการมองปลาหรือให้อาหารปลาที่เราเลี้ยงไว้
โอกาสในวิกฤต เริ่มที่ความคิด ตอนที่ 1/2
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
รายการทีวีของญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงรายการหนึ่ง ได้จัดให้มีการแข่งขันการใช้ชีวิตอย่างประหยัดที่สุดภายในเวลาสามวัน หากทีมใดมีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดทีมนั้นจะเป็นผู้ชนะ และมีผู้เข้าแข่งขันทีมหนึ่งเลือกใช้ชีวิตโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายบนเกาะไร้คน เหตุที่ผู้เข้าแข่งขันทีมนี้มั่นใจว่าจะสามารถใช้ชีวิตบนเกาะร้างโดยไม่อดตายในสามวัน เพราะมีความคิดแง่บวกว่าธรรมชาติจะดูแลพวกเขา
โอกาสในวิกฤต เริ่มที่ความคิด ตอนที่ 2/2
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
คนจำนวนมากไม่สามารถเอาชนะปัญหาในชีวิตได้ เพราะมีมุมมองที่ผิดต่อปัญหาที่เผชิญอยู่ อาทิ ตอบสนองด้วยการ “ไม่รับรู้ปัญหา” คิดว่าปัญหาจะคลี่คลายได้โดยตัวมันเองไปในที่สุด...ตอบสนองด้วยการ “หนีปัญหา” คิดว่าตนเองไม่สามารถแก้ปัญหาได้แน่นอน บางคนอาจปลีกตัวจากสังคม บางคนอาจเก็บตัวอยู่ในโลกส่วนตัวไม่ข้องแวะกับใคร และที่ร้ายสุดคือหนีปัญหาโดยการปลิดชีวิตตนเองลง...ตอบสนองด้วยการ “จำใจเผชิญปัญหา” ด้วยถูกเงื่อนไขบางประการบีบคั้น จึงจำใจต้องเผชิญกับปัญหาที่มีอยู่ แต่เป็นการเผชิญด้วยมุมมองแง่ลบ เสียเวลาไปกับความท้อแท้ใจหรือการหาคนผิด มากกว่าความพยายามในการคิดแก้ปัญหา
ความประทับใจใน “ฮาร์วาร์ด” ตอนที่ 1/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
หลังจากการประกาศยุบสภาฯ ของอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ปี 2549 สักพักหนึ่ง ผมตอบรับการเชิญจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ให้ดำรงตำแหน่งเป็นนักวิชาการอาวุโส (Senior Fellow) ของศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และได้ใช้เวลาบรรยายและทำการวิจัยและแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่นี่ จึงทำให้ต้องเดินทางไปมาระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกาอยู่เสมอ
ความประทับใจใน “ฮาร์วาร์ด” ตอนที่ 2/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ผมรู้สึกว่า ได้รับการเชิญชวนให้ใช้เวลาทำสิ่งที่สำคัญที่สุด เมื่ออยู่ในสถานที่แห่งนี้ ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ ล้วนเอื้อให้สามารถแสวงหาความรู้ได้อย่างไม่มีอุปสรรค
ความประทับใจใน “ฮาร์วาร์ด” ตอนที่ 3/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
ที่พักของผมเช่นกัน ไม่ต่างจากที่พักตากอากาศ ผมพักอยู่ชั้น 17 ของอาคารที่พักอาศัยที่จัดไว้สำหรับบุคลากรของฮาร์วาร์ด เมื่อมองออกนอกหน้าต่าง จะเห็นแม่น้ำชารล์ส (Charles) และมองเห็นบริเวณและอาคารของ Harvard Business School และอีกมุมหนึ่งจะเห็นวิวทิวทัศน์ที่งดงามของเมืองCambridge ผมชอบที่จะออกมานั่งอ่านหนังสือริมระเบียงในช่วงเวลาที่อากาศไม่หนาวจัด
ความประทับใจใน “ฮาร์วาร์ด” ตอนที่ 4/4
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
มหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งของไทย แม้ว่าเมื่อหลายสิบปีก่อนจะอยู่ในสภาพเมืองมหาวิทยาลัย สงบร่มรื่น สมกับเป็นแหล่งเรียนรู้ แต่มหาวิทยาลัยกลับเป็นสิ่งที่ดึงดูดความเจริญ ผู้คนหลั่งใหลเข้ามาตั้งบ้านเรือน หอพักนักศึกษา ตลาด ร้านค้า รวมไปถึงแหล่งบันเทิงดึงดูดวัยรุ่นมากมาย จนกลายเป็นชุมชนเมืองที่แออัด จอแจไปด้วยผู้คน และจราจรที่ติดขัด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)